Translate

วินิฉัยอาการป่วยจากพฤติกรรมก่อโรค


                ดังนั้น การที่จะมีสุขภาพดีหรือทำให้ความเจ็บป่วยลดน้อยลง จึงต้องแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ คือ ลดละเลิกพฤติกรรมที่ทำให้ภาวะร้อนเย็นของร่างกายไม่สมดุลและทำพฤติกรรมที่ทำให้ภาวะร้อนเย็นของร่างกายสมดุล                   
                  ดังรายละเอียดต่อไปนี้

หมายเหตุ การทำให้เกิดสมดุลร้อนเย็นนั้นในการปฏิบัติแต่ละข้อต้องทำด้วยใจที่เป็นสุข ด้วยการพิจารณาประโยชน์(ยาเม็ดที่ ๘) และปฏิบัติอย่างรู้เพียรรู้พัก(ยาเม็ดที่ ๙)

พฤติกรรมร้อนเย็น
พฤติกรรม
ร้อนเกิน
สมดุลร้อน-เย็น
เย็นเกิน
๑.      อารมณ์














ความเครียด ความเร่งรีบ/เร่งรัด/      เร่งร้อน ความกลัว(ในเรื่องต่างๆ รวมถึง หวาดกลัวกลัวมากๆในภาวะเย็นเกินจนทำแต่พฤติกรรมร้อนมากเกินพอดี หวาดกลัวมากๆในภาวะ ร้อนเกินจนเมื่อได้รับเหตุปัจจัยร้อนเพียงเล็กน้อยก็มีอาการร้อนมาก) ความวิตกกังวล ความไม่โปร่ง         ไม่โล่ง ไม่สบายใจ ความไม่พอใจ           ความมุ่งร้าย อาฆาต พยาบาท       ความโลภ โกรธ หลง ยึดเกิน เอาแต่ใจตัวเอง ฟุ้งซ่าน ดีซ่าน(ดีของจิตซ่าน คือ ทำดีหรืออยากให้เกิดดีมากเกินเกินพอดี/เกินจริง จนเกิดอาการไม่สบาย) เป็นต้น
ละบาป
บำเพ็ญบุญ
เพิ่มพูนใจไร้กังวล
ไม่กลัวตาย ไม่กลัวโรค
ไม่เร่งผล ไม่กังวล
(ลดกิเลส
ลดความติดความยึดในสิ่งต่างๆที่เป็นภัยต่อตนเองและผู้อื่น)
(ทำดี อย่างมีสุข อย่างรู้เพียร รู้พัก)
(ยาเม็ดที่ ๘,๙)





อารมณ์เฉยๆ เฉยเมย ดูดาย ไม่คิด ไม่พูด ไม่ทำอะไรมากเกินจนเกิดอาการไม่สบาย)
หวาดกลัวมากๆในภาวะร้อนเกิน จนทำแต่พฤติกรรมเย็นมากเกินพอดี หวาดกลัวมากๆในภาวะเย็นเกินจนเมื่อรับเหตุปัจจัยเย็นเพียงเล็กน้อยก็มีอาการเย็นมาก







พฤติกรรม
ร้อนเกิน
สมดุลร้อน-เย็น
เย็นเกิน
๒. อาหาร








๓.การออกกำลังกาย    กายบริหารและอิริยาบถ (ลักษณะการทำงาน)





๔. การสัมผัสมลพิษต่างๆ







-มีสารพิษ
-มีเนื้อสัตว์
-รสจัด
-กินอาหารกลุ่มร้อนมากเกิน
-เคี้ยวไม่ละเอียด
จนเกิดอาการไม่สบาย



- ออกกำลังที่ใช้แรงมากเกินจนเกิดอาการไม่สบาย
- กลั้นลมหายใจมากไปจนเกิดอาการไม่สบาย
- ใช้อวัยวะของร่างกายทำงานแล้ว
ไม่คลาย ไม่ดัดกล้ามเนื้อให้เข้า
สภาพเดิมจนเกิดอาการไม่สบาย




- สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ อากาศมีสารพิษ มีพลังร้อนมากจนเกิดอาการไม่สบาย







-ไร้สารพิษ
-ไม่มีเนื้อสัตว์
-ปรุงรสเล็กน้อยเท่าที่พลังชีวิตเต็ม
-จัดสัดส่วนของอาหารกลุ่มร้อนและเย็นเท่าที่พลังชีวิตเต็ม
 -เคี้ยวละเอียดดี
เท่าที่พลังชีวิตเต็ม
(ยาเม็ดที่ ๗)

- ออกกำลังกายที่ใช้แรงเท่าที่พอดีพลังชีวิตเต็ม
-กดจุดลมปราณ โยคะ กายบริหาร
- ปรับการหายใจเข้าและผ่อนลมหายใจออก เหมาะกับสภาพร่างกายเท่าที่พอดีสบาย
- ใช้อวัยวะของร่างกายทำงานแล้วคลาย/ดัดกล้ามเนื้อให้เข้าสภาพเดิมเท่าที่สบาย
(ยาเม็ดที่ ๖)

- สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ  อากาศ
ไร้สารพิษ เมื่อสัมผัสแล้วรู้สึกสบาย หรือปรับสมดุลร้อน-เย็นของสิ่งแวดล้อมให้ร่างกายรู้สึกสบายหรือปรับร่างกายให้รู้สึกสบายเมื่อสัมผัสสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
(ยาเม็ดที่ ๑-๖,๙)

-ไม่ปรุงรสเลย
-กินอาหารกลุ่มเย็นมากเกิน
-เคี้ยวละเอียดนานเกินพอดี
จนเกิดอาการไม่สบาย





- ไม่ออกกำลังกายจนเกิดอาการ        ไม่สบาย
- ปล่อยลมหายใจออกทางปาก/จมูกมากเกินพอดีจนเกิดอาการ
ไม่สบาย
- ใช้อวัยวะของร่างกายทำงานแล้วคลาย/ดัดกล้ามเนื้อมากเกินพอดีจนเกิดอาการไม่สบาย



- สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ อากาศ
มีพลังเย็นมากจนเกิดอาการ
ไม่สบาย








พฤติกรรม
ร้อนเกิน
สมดุลร้อน-เย็น
เย็นเกิน
๕. การสัมผัสเครื่องยนต์/เครื่องไฟฟ้า/เครื่องอิเลคโทรนิค




๖. การระบายพิษหรือลดพิษในร่างกาย



๗. การเพียร     การพัก





๘. บาป/อกุศล
บุญ/กุศล






- การสัมผัสเครื่องยนต์/เครื่องไฟฟ้า/เครื่องอิเลคโทรนิค
มากเกินความสมดุลจนเกิด
อาการไม่สบาย




- การระบายพิษหรือลดพิษในร่างกาย (ใช้ยาเม็ดที่ ๑-๖) ด้วยวิธีที่ทำให้ร่างกายร้อนขึ้น จนเกิดอาการไม่สบาย
-เพียรมากเกิน พักน้อยเกิน จนเกิดอาการไม่สบาย

-ไม่ถอนพิษร้อนหรือไม่พักผ่อนหลับนอนในช่วงไฟกำเริบ( ๔ทุ่มถึงตี๒)





-ไม่ปฏิบัติศีล ๕ (ไม่ละบาป
ไม่บำเพ็ญบุญ ไม่เพิ่มพูนใจไร้กังวล)






- ไม่การสัมผัสเครื่องยนต์/เครื่องไฟฟ้า/เครื่องอิเลคโทรนิค หรือจัดสรรเวลาเมื่อจำเป็นต้องสัมผัสมลพิษดังกล่าวเท่าที่รู้สึกสบาย หรือปรับสมดุลร้อนเย็นของร่างกายให้รู้สึกสบายเมื่อสัมผัสมลพิษดังกล่าว
(ยาเม็ดที่ ๑-๖,๙)

- การระบายพิษหรือลดพิษในร่างกาย ด้วยการปรับสมดุลร้อนเย็นตามสภาพร่างกาย ณ ปัจจุบันเท่าที่สบาย
(ยาเม็ดที่ ๑-๖)

-การเพียรเต็มที่ การพักพอดี
-เพียรให้หนัก พักให้พอ
เท่าที่พลังชีวิตเต็ม
-ถอนพิษร้อนหรือพักผ่อนหลับนอนในช่วงไฟกำเริบ( ๔ทุ่มถึงตี๒)(ยาเม็ดที่ ๙)

-ปฏิบัติศีล ๕
(ละบาป บำเพ็ญบุญ เพิ่มพูนใจ
ไร้กังวล)
๑. ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่กินสัตว์  ไม่ค้าขายมิจฉาวณิชา ๕(สัตว์เป็น/เนื้อสัตว์/อาวุธ/ยาพิษ/สิ่งเสพติด)
ไม่ทำให้คน/สัตว์เดือดร้อนลำบากโดยประการทั้งปวง รู้จักให้อภัย
ลดความโกรธ/อาฆาต/พยาบาท/
อึดอัดใจ/ขุ่นเคืองใจ /รำคาญใจ
- สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ อากาศ
มีพลังเย็นมากจนเกิด
อาการไม่สบาย





- การระบายพิษหรือลดพิษในร่างกาย (ใช้ยาเม็ดที่ ๑-๖)
ด้วยวิธีที่ทำให้ร่างกายเย็นลง
จนเกิดอาการไม่สบาย


เพียรน้อยเกิน พักมากเกิน
จนเกิดอาการไม่สบาย





-ไม่ปฏิบัติศีล ๕
(ไม่ละบาป ไม่บำเพ็ญบุญ
ไม่เพิ่มพูนใจไร้กังวล)





พฤติกรรม
ร้อนเกิน
สมดุลร้อน-เย็น
เย็นเกิน
บาป/อกุศล
บุญ/กุศล






-ไม่ปฏิบัติศีล ๕ (ไม่ละบาป
ไม่บำเพ็ญบุญ ไม่เพิ่มพูนใจไร้กังวล)





























๒. ไม่ลัก/ไม่ขโมย/ไม่ฉ้อโกง
ลดความโลภด้วยการรู้จักให้ทานแบ่งปันข้าวของ/แรงกาย/ความรู้
ให้ผู้อื่น
๓. ไม่ประพฤติผิดในกามคุณ ๕ คือ ลด/ละ/เลิก ในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสที่เป็นภัย รวมถึงการสัมผัส
ผัวเขา เมียใคร ลูกใคร และลดละเลิกการสมสู่(เมถุน)
๔. ไม่ใช้วาจาที่ไม่ดี
-ฝึกลด/ละ/เลิกวาจาที่ไม่ดี ได้แก่ โกหก คำหยาบ(คำที่ส่งเสริมให้เกิดกิเลส) ส่อเสียด(ยุคนนั้นคนนี้ให้ทะเลาะกัน) เพ้อเจ้อ(พูดไร้สาระ
พูดเล่น พูดหัว มากเกินไป)
นินทาว่าร้าย
-ฝึกใช้วาจาที่ดี ที่เป็นประโยชน์ วาจาที่ช่วยลดกิเลส(เหตุแห่งทุกข์) อย่างพอเหมาะพอดี
๕. ไม่มัวเมาในสิ่งที่เป็นภัยต่อชีวิต ๔ อย่าง
๕.๑ อบายมุข ๖ ได้แก่ สิ่งเสพติด การพนัน เที่ยวดูการละเล่น
เที่ยวกลางคืน คบคนชั่วเป็นมิตรเกียจคร้านการงาน(คนมีศีลต้องขยันการงาน ขยันทำดี)  
๕.๒ กามคุณ ๕ ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ที่เป็นภัย

-ไม่ปฏิบัติศีล ๕
(ไม่ละบาป ไม่บำเพ็ญบุญ
ไม่เพิ่มพูนใจไร้กังวล)

พฤติกรรม
ร้อนเกิน
สมดุลร้อน-เย็น
เย็นเกิน
บาป/อกุศล
บุญ/กุศล





























-ไม่ปฏิบัติศีล ๕ (ไม่ละบาป
ไม่บำเพ็ญบุญ ไม่เพิ่มพูนใจไร้กังวล)





























๕.๓ โลกธรรม ๘ ลาภ ยศ สรรเสริญ โลกียสุข นินทา
เสื่อมลาภ เสื่อมยศ ทุกข์
๕.๔ อัตตา ๓ ได้แก่ -โอฬาริกอัตตา(หลงยึดมั่นถือมั่นในสิ่งที่เป็นวัตถุแท่งก้อนว่าเป็นตัวเราของเราตลอดกาลนาน)
- มโนมยอัตตา(หลงยึดมั่นถือมั่นรูปที่สำเร็จด้วยจิต  คือจิตสร้างจินตนาการสิ่งที่ไม่มีจริงว่ามีจริง  คือ ผู้นั้นสร้างจินตนาการจนรู้สึกว่ามีรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสเป็นตัวตน ว่าเป็นจริงมีจริง โดยที่สิ่งนั้นไม่ได้มีจริง รวมถึงการหลงยึด    หลงติดหลงเสพรสโลกียะสุขที่จิตหลงสร้างขึ้นมา อันเป็นความรู้สึกสุขชั่วคราวเมื่อได้เสพสมใจในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสต่างๆ  รวมถึงการกระทบ การรับรู้หรือไม่รับรู้        ทุกสภาพทุกเหตุการณ์ แล้วความรู้สึกสุขนั้นก็เลือนหายไปอย่างรวดเร็วเหมือนฟองคลื่น เหมือนพยับแดด ที่เกิดขึ้นตั้งอยู่แล้วดับไปอย่างรวดเร็ว
-อรูปอัตตา(หลงยึดมั่นถือมั่นว่า ความรู้/ความคิด/ ความเห็น/
ความเข้าใจ/ความดี/ ศักดิ์ศรี 
ต้องเกิดดังใจเรามุ่งหมาย ถ้าไม่ได้ดังที่ใจมุ่งหมายก็ทุกข์ใจ เป็นอัตตาซ้อนอัตตา เช่น เมื่อเลิก/หยุดในสิ่งที่ไม่ดีนั้นได้แล้ว แต่ยังเหลืออัตตา
-ไม่ปฏิบัติศีล ๕ (ไม่ละบาป
ไม่บำเพ็ญบุญ ไม่เพิ่มพูนใจไร้กังวล)




























พฤติกรรม
ร้อนเกิน
สมดุลร้อน-เย็น
เย็นเกิน
บาป/อกุศล
บุญ/กุศล













๙. การบูรณาการองค์ความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ
-ไม่ปฏิบัติศีล ๕ (ไม่ละบาป
ไม่บำเพ็ญบุญ ไม่เพิ่มพูนใจไร้กังวล)













บูรณาการองค์ความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ ไปสู่การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ(ไม่ถูกสมดุลร้อนเย็น ณ สภาพปัจจุบัน ทั้งด้านรูปธรรมและนามธรรม โดยโต่งไปในทางร้อนเกิน จนเกิดอาการไม่สบาย) ใช้สิ่งที่ราคาแพง หาได้ยาก ทำได้ยากและแต่ละคนทำเอาเองไม่ได้ ต้องพึ่งผู้อื่นเป็นหลัก
(ตัวตน)ของอารมณ์รังเกียจ/ไม่ชอบใจ/ไม่พอใจในสิ่งที่ไม่ดีนั้น, หลงทำดีเกินพอดีจนทรมานตนเองมากเกินไปเป็นประจำ, หลงอยากได้ดีหรืออยากให้เกิดดีเกินกว่าฤทธิ์แรงหรือความสามารถที่ทำได้จริง, หลงลบลู่ดูถูกดูหมิ่นดูแคลนเยอะเย้ยถากถางในคนที่ด้อยหรือต่ำกว่า, อยากได้เกียรติอยากได้ศักดิ์ศรี ถ้าไม่ได้ก็ทุกข์ใจ, อยากให้คน/องค์กร/ชุมชน/สังคม เข้าใจหรือได้ดีดังที่เรามุ่งหมาย แต่ถ้าไม่เข้าใจ/ไม่เกิดดี/ไม่ได้ดีดังที่ใจเรามุ่งหมาย ก็หลงทุกข์ใจ
(ยาเม็ดที่ ๘)

บูรณาการองค์ความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ ไปสู่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ(ถูกสมดุลร้อนเย็น ณ สภาพปัจจุบัน ทั้งด้านรูปธรรมและนามธรรม) โดยใช้สิ่งที่ประหยัดเรียบง่าย และแต่ละคนทำเอาเองได้
(ยาเม็ดที่ ๑-๙)
-ไม่ปฏิบัติศีล ๕ (ไม่ละบาป
ไม่บำเพ็ญบุญ ไม่เพิ่มพูนใจไร้กังวล)












บูรณาการองค์ความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ ไปสู่การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ(ไม่ถูกสมดุลร้อนเย็น ณ สภาพปัจจุบัน ทั้งด้านรูปธรรมและนามธรรม โดยโต่งไปในทางเย็นเกิน จนเกิดอาการไม่สบาย) ใช้สิ่งที่ราคาแพง       หาได้ยาก ทำได้ยาก และแต่ละคน
ทำเอาเองไม่ได้ ต้องพึ่งผู้อื่น
เป็นหลัก

สูตรการปรับสมดุลตามหลักแพทย์วิถีธรรม

-ถ้ามีพฤติกรรมร้อน กระทบอากาศร้อน แล้วเกิดอาการไม่สบาย ให้แก้ด้วยสูตรเย็น
-ถ้ามีพฤติกรรมร้อน กระทบอากาศเย็น แล้วเกิดอาการไม่สบาย ให้แก้ด้วยสูตรเย็นผสมร้อน
-ถ้ามีพฤติกรรมเย็น กระทบอากาศเย็น แล้วเกิดอาการไม่สบาย ให้แก้ด้วยสูตรร้อน
-ถ้ามีพฤติกรรมเย็น กระทบอากาศร้อน แล้วเกิดอาการไม่สบาย ให้แก้ด้วยสูตรเย็นผสมร้อน
-ถ้ามีพฤติกรรมร้อน อยู่ในสภาพอากาศที่รู้สึกสบาย แล้วเกิดอาการไม่สบาย ให้แก้ด้วยสูตรเย็น
-ถ้ามีพฤติกรรมเย็น อยู่ในสภาพอากาศที่รู้สึกสบาย แล้วเกิดอาการไม่สบาย ให้แก้ด้วยสูตรร้อน

-ไม่ว่าจะมีพฤติกรรมใดหรือกระทบอากาศใด แล้วเกิดอาการไม่สบายแบบร้อนเย็นเกิดพร้อมกันให้แก้ด้วยสูตรเย็นผสมร้อน และเน้นแก้พฤติกรรมที่ทำแล้วรู้สึกไม่สบายนั้นด้วย
-พฤติกรรมใดที่ทำแล้วรู้สึกไม่สบาย ไม่เบากาย ไม่มีกำลัง เป็นอยู่ไม่ผาสุก ให้ลดหรืองดพฤติกรรมนั้น เท่าที่รู้สึกสบาย  เบากาย มีกำลัง เป็นอยู่ผาสุก
-พฤติกรรมใดที่ทำแล้วรู้สึกสบาย เบากาย มีกำลัง เป็นอยู่ผาสุก ให้ทำพฤติกรรมนั้น เท่าที่รู้สึกสบาย เบากาย มีกำลัง เป็นอยู่ผาสุก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น